การจัดเก็บข้อมูลบริการวิชาการตามโปรแกรมระบบฐานข้อมูล KPIs (Update 23 กันยายน 2551)

·      ลักษณะงานบริการวิชาการ

            งานบริการวิชาการทั้ง 10 หมวด ( ยกเว้นหมวดที่ 6 หมวดสุขภาพ ) ได้แก่

                                   หมวดที่ 1 บริการวิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบและตรวจซ่อม

                                                      หมวดที่ 1.1   ข้อมูลจากประมาณการภาควิชา

                                                      หมวดที่ 1.2  ข้อมูลจากการบริการวิชาการภายในคณะ(แบบมีประกาศ)

                                                      หมวดที่ 1.3  ข้อมูลประเภทโครงการ

                                  หมวดที่ 2  บริการเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ

                                  หมวดที่ 3  บริการจัดฝึกอบรม สัมมนาและประชุมเชิงปฏิบัติการแบบเก็บค่าลงทะเบียน

                                  หมวดที่ 4  บริการจัดฝึกอบรม สัมมนาและประชุมเชิงปฏิบัติการแบบให้เปล่า

                                  หมวดที่ 5  บริการจัดฝึกอบรม สัมมนาและประชุมเชิงปฏิบัติการในลักษณะว่าจ้าง

                                  หมวดที่ 7  บริการศึกษาวิจัย สำรวจ การวางแผน การจัดการ

                                  หมวดที่ 8  บริการศึกษาความเหมาะสมของโครงการ การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม

                                  หมวดที่ 9  บริการวางระบบ ออกแบบ สร้าง ประดิษฐ์ และผลิต

                                  หมวดที่ 10 บริการอื่นๆ

                                                       หมวดที่ 10.1  ที่ปรึกษา/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิชาการ/กรรมการวิทยานิพนธ์/ผู้ทรงคุณวุฒิ  (นับเป็นกิจกรรม)

                                                       หมวดที่ 10.2 ที่ปรึกษาอุตสาหกรรม เช่น ที่ปรึกษา บริษัท ตรังยูซี จำกัด   (นับเป็นโครงการ)

                                  หมวดที่ 11 วิทยากร

·     การเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล   www.eng.psu.ac.th 

       1. เลือกระบบฐานข้อมูล KPIs

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

     2. Login เข้าสู่ระบบเพื่อใช้ข้อมูล KPIs โดยใช้รหัสผ่านเดียวกับระบบ DSS

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

       3. เลือก คลิกเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลด้านการบริการวิชาการ และเลือก Phase 2

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

·      การจัดเก็บข้อมูลตามดัชนีที่ 5.2 และ 5.8             

Text Box: ชุดที่ 1

            การกรอกข้อมูล ตัวบ่งชี้ที่ 5.2   ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการแก่สังคม เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการวิชาการ และกรรมการวิชาชีพ ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ (อ. ประจำทั้งหมดรวมลาศึกษาต่อ) และตัวบ่งชี้ที่ 5.8 การเป็นผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิชาการ/เลื่อนระดับต่อบุคลากรทั้งหมด (ที่ปฏิบัติงานจริง)

     -         การเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล

   

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-         วิธีการป้อนข้อมูล

Text Box: Input

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-         การแสดงผล  ดัชนีที่ 5.2 และ 5.8

 

 

Text Box: Output

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Text Box: Output

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  ·       การป้อนข้อมูลในโปรแกรม KPIs หมวดดัชนีที่ 5.2 และ 5.8

         ตัวบ่งชี้ที่ 5.2   ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีส่วนร่วมในการให้บริการวิชาการแก่สังคม เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการวิชาการ และกรรมการวิชาชีพ ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ (อ. ประจำทั้งหมดรวมลาศึกษาต่อ)

         5.2.1 ที่ปรึกษา/กรรมการวิทยานิพนธ์ของสถาบันภายนอก  กรณีที่แต่งตั้งโดย ม.อ. ไม่สามารถนับใน 5.2 และ 5.8 ทุกกรณี

         5.2.2 กรรมการวิชาการ ได้แก่ กรรมการร่างหลักสูตร/กรรมการประเมินหลักสูตร /กรรมการอ่านผลงานวิชาการ / กรรมการประเมินผลงานวิชาการหรืออยู่ในกองบรรณาธิการของวารสารวิชาการต่างๆ / กรรมการการประชุมวิชาการที่มีลักษณะการจัดเป็นประจำระดับชาติ/นานาชาติ /กรรมการประจำของหน่วยงานภาครัฐ / กรรมการตรวจสอบผลงาน/ กรรมการพิจารณาบทความ

         5.2.3 กรรมการวิชาชีพ  หมายถึง  การเป็นกรรมการของสมาคมวิชาชีพต่างๆ ที่ปรึกษาระดับสูงของประเทศที่ได้รับคัดเลือกหรือได้รับมอบหมายให้ร่วมเป็นคณะทำงานหรือคณะดำเนินการ เพื่อพัฒนางานวิชาการหรือวิชาชีพภายนอกสถาบันในระดับชาติ หรือนานาชาติ

         ตัวบ่งชี้ที่ 5.8 การเป็นผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิชาการ/เลื่อนระดับต่อบุคลากรทั้งหมด (ที่ปฏิบัติงานจริง)

        ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิชาการ/เลื่อนระดับต่อบุคลากร  คือการที่บุคลากรของมหาวิทยาลัยทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนได้รับการยอมรับจากหน่วยงานภายนอก แต่งตั้งให้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ (สายวิชาการนับมาจากข้อ 5.2 การเป็นกรรมการวิชาการเฉพาะที่เป็นกรรมการพิจารณาบทความทางวิชาการ และการเลื่อนระดับโดยขอบเขตต้องเป็นภายนอก ม.อ.เท่านั้น) ได้แก่  ผู้ทรงคุณวุฒิที่ประเมินผลงานทางวิชาการ และเพิ่มเติมบุคลากรสายสนับสนุน ทั้งนี้ต้องมีหลักฐานประกอบ เช่น หนังสือตอบรับ หนังสือเชิญ (กรณีที่ไม่สามารถหาหนังสือตอบรับได้) หรือเอกสารทาง E-mail เป็นต้น

         หมายเหตุ  การนับระดับการปฏิบัติงาน ภูมิภาค/ชาติ/นานาชาติ  ให้พิจารณาจากวัตถุประสงค์ของการจัด รวมถึงผู้เข้าร่วมด้วย โดยไม่พิจารณาถึงพื้นที่การจัด เช่น

                           กรณีที่1.  ม.ทักษิณ มีหนังสือเชิญ อ.คณะวิศวฯ เข้าร่วมเป็นคณะทำงาน โดยงานดังกล่าวได้เชิญ อาจารย์อื่นๆ จากมหาวิทยาลัยในประเทศเข้าร่วมด้วย ดังนั้นระดับการจัดให้นับเป็นระดับชาติ  ถึงแม้ภายหลังการจัดงานจะมี อาจารย์จาก มหาวิทยาลัยภายในภาคใต้เข้าร่วมเท่านั้น

                          กรณีที่ 2.  หากในงานเดียวกันมีชาวต่างชาติเข้าร่วมพิจารณาบทความด้วย ให้นับเป็นระดับนานาชาติ 

                          กรณีที่ 3.  ม.ทักษิณ เชิญอาจารย์คณะวิศวฯ เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ ให้นับเป็นระดับชาติ

หมวด รายละเอียด ตัวอย่าง ขอบเขต ประเภท ระดับการปฏิบัติงาน การนับ หมายเหตุ หน่วยงาน
ในคณะ นอกคณะ นอก มอ. ที่ปรึกษา กก.สารนิพนธ์ กก.สอบสารนิพนธ์ กก.วิทยานิพนธ์ กก.สอบวิทยานิพนธ์ กก.วิชาการ กก.วิชาชีพ กก.วิชาการ+การเลื่อนระดับ ภูมิภาค ชาติ นานาชาติ 5.2 5.8 ฝ่ายบริการวิชาการ ภาควิชา กลุ่มสนับสนุน การจัดการทรัพยากรบุคคล  
ที่ปรึกษา/กรรมการ  วิทยานิพนธ์ของสถาบันภายนอก   กก.วิทยานิพนธ์/สอบวิทยานิพนธ์   ü หรือü         ü หรือü       ü หรือü หรือü - -     ü ü    
กก.สารนิพนธ์/สอบสารนิพนธ์   ü หรือü หรือü   ü ü           ü หรือü หรือü - -     ü ü    
กก.วิทยานิพนธ์       ü       ü         ü หรือü หรือü ü -     ü ü    
กก.สอบวิทยานิพนธ์       ü         ü       ü หรือü หรือü - -     ü ü    
กรรมการวิชาการ กก.ร่าง/ประเมินหลักสูตร
(กรรมการ/ที่ปรึกษา/พิจารณาร่าง/ปรับปรุง/รับรอง/วิภาค หลักสูตร)
 
 - คณะกรรมการพิจารณาหลักสูตร
- กรรมการหลักสูตรอบรมต่าง ๆ
- กรรมการพิจารณาร่างหลักสูตร
- อนุกรรมการรับรองหลักสูตรและสถาบันการศึกษา
- กรรมการวิภาคหลักสูตร
 
ü หรือü             ü       ü   - -     ü ü ü  
    ü           ü     ü หรือü หรือü ü -     ü ü ü  
กก.อ่าน/พิจารณาผลงานหรือบทความทางวิชาการ
 
 - Review paper
- Review Menuscript
- Review assignment
 
ü หรือü             ü       ü หรือü - - ระดับนานาชาติ จะต้องมีกรรมการจากต่างประเทศมาร่วมด้วย   ü ü ü  
 - กรรมการพิจารณาบทความ EECON30, IE Network หรือของสาขาอื่น ๆ
- ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร
    ü               ü   ü หรือü ü ü   ü ü ü  
กก.ประชุม/ทางวิชาการ  - คณะกรรมการ/คณะที่ปรึกษาสภาวิชาการ เช่น 3G, ประชุมวิชาการทางวิศวกรรมสาขาต่าง ๆ
 
ü หรือü             ü       ü หรือü - -     ü ü ü  
    ü           ü       ü หรือü ü -     ü ü ü  
คณะทำงานกองบรรณาธิการวารสารวิชาการ คณะทำงานกองบรรณาธิการวารสารวิชาการต่าง ๆ
- คณะกรรมการพิจารณาบทความวารสารต่าง ๆ
ü หรือü หรือü           ü       ü หรือü ü ü ให้พิจารณาดูว่า วารสารเป็นระดับชาติหรือนานาชาติ   ü ü ü  
กรรมการวิชาการ คณะกรรมการประเมินผลงาน  กรรมการประเมินผลงานจากการปฏิบัติงานหน้าที่ (เลื่อนระดับ)

 
ü หรือü                 ü   ü หรือü - -     ü ü ü  
 - กรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการของสถาบันการศึกษาอื่น ๆ
- คณะกรรมการประเมินผลที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่และผลงานทางวิชาการ ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่าง ๆ
 
    ü               ü   ü หรือü ü ü     ü ü ü  
กรรมการวิชาการอื่นๆ กรรมการวิชาการด้านโทรคมนาคมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง (โครงการ Excellence Plus Three)
- กรรมการอำนวยการสมาคมวิชาการ ECTI
- กรรมการประจำหน่วยงานภาครัฐ
- กรรมการตัดสินการประกวดต่าง ๆ (ย้ายมาจากวิชาชีพ)
 
ü หรือü             ü       ü หรือü - -     ü ü ü  
    ü           ü       ü หรือü ü -     ü ü ü  
กรรมการวิชาชีพ ที่ปรึกษา หน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ/มูลนิธิ  - คณะกรรมการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ  ม.ทักษิณ
-ที่ปรึกษาของสถาบันการศึกษาต่างๆ
-ที่ปรึกษามูลนิธิชัยพัฒนา
ü หรือü หรือü             ü   ü     - -    -  การเป็นที่ปรึกษาในโครงการบริการวิชาการต่างๆ
  -  การเป็นที่ปรึกษา/ผู้วินิจฉัยปัญหาโครงการ เช่น  iTAP  (ยกเว้นยกเว้น การเป็นคณะทำงานในเครือข่าย)
ü ü ü    
    ü             ü     ü หรือü ü - ü ü ü    
กก.ให้กับสมาคมวิชาชีพอื่นๆ  - กรรมการสภาวิศวกร
- กรรมการอำนวยการ วสท.ภาคใต้
 - กรรมการ/อนุกรรมการ วสท.  สาขาวิศวกรรมต่าง ๆ 
 -  คณะทำงานทดสอบความรู้ฯ ผู้ขอรับอนุญาต ระดับภาคีวิศวกร
    ü             ü     ü หรือü ü -   ü ü ü    
กรรมการวิชาชีพ กก.อื่น ๆ ที่ใช้วิชาชีพทางด้านวิศวกรรมศาสตร์   - กรรมการตรวจรับพัสดุ/การจ้างงานในเชิงวิชาชีพวิศวกรรมศาสตร์
 - กรรมการตรวจรับการจ้างงาน  (ในการก่อสร้างเขื่อนหินป้องกันน้ำเซาะตลิ่ง)
 -  กรรมการร่วมในการตรวจรับพัสดุกับเทศบาลต่าง ๆ
 
ü หรือü               ü   ü ü หรือü - - ยกเว้น กรรมการตรวจรับการจ้างงานใน ม.อ. ü ü ü    
    ü             ü     ü หรือü ü -   ü ü ü    
การเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาผลงานทางวิชาการ   - การประเมินผลงานวิชาการให้กับสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
- พิจารณาบทความ
- ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร
 
    ü               ü ü หรือü หรือü ü ü     ü ü ü  
การเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาเลื่อนระดับ   - พิจารณา/ประเมินผลงานทางวิชาการ
- เลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ (ผศ. รศ.)
- พิจารณาการเข้าสู่ตำแหน่ง หรือตำแหน่งชำนาญการ
    ü               ü ü หรือü หรือü ü ü     ü ü ü  
หมายเหตุ      1. กรณีที่เป็น กก.วิทยานิพนธ์ นับได้เฉพาะภายนอกสถาบันเท่านั้น โดยไม่ต้องคำนึงถึงระดับแต่อย่างใด
                    2. กรณีที่เป็น กก.วิชาการ/กก.วิชาชีพ ไม่สามารถนับในระดับภูมิภาคได้
                    3. กรณีที่เป็นอาจารย์ที่พิจารณาผลงานทางวิชาการ / เลื่อนระดับ นับได้ทั้ง 5.2 และ 5.8 หากเป็นบุคลากรสายสนับสนุน นับได้ใน 5.8 เท่านั้น
                    4. ผู้ทรงคุณวุฒิ พิจารณาเฉพาะขอบเขตการปฎิบัติงานภายนอกมหาวิทยาลัยฯ เท่านั้น โดยไม่ต้องคำนึงถึงระดับแต่อย่างใด

Text Box: ชุดที่ 2

  ·      การจัดเก็บข้อมูลตามดัชนีที่ 5.4
      
การกรอกข้อมูล ตัวบ่งชี้ที่ 5.4  
ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ จะสามารถได้ในกรณีที่โครงการได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว โดยเข้าสู่ประเภทของโครงการ แล้วเข้าไปแก้ไขรายการของโครงการนั้นๆ ดังนี้

        -         การเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

   -         วิธีการป้อนข้อมูล

         

Text Box: Input
Text Box: Output

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  -         การแสดงผล  ดัชนีที่ 5.4

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  ·    การจัดเก็บข้อมูลตามดัชนีที่ 5.6 และ 5.11
        การกรอกข้อมูล ตัวบ่งชี้ที่ 5.6  มีการนำความรู้และประสบการณ์จากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียน การสอน และการวิจัย (ระดับ) และตัวบ่งชี้ที่ 5.11 ระดับความสำเร็จในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพตามพันธกิจของสถาบัน (ระดับ)Text Box: ชุดที่ 3
        
-         การเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 -         วิธีการป้อนข้อมูล

Text Box: Input

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 -         การแสดงผล  ดัชนีที่ 5.6 และดัชนีที่ 5.11

Text Box: Output

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

       การป้อนข้อมูลในโปรแกรม KPIs หมวดดัชนีที่  5.6 กับ 5.11    
       ตัวบ่งชี้ที่ 5.6 มีการนำความรู้และประสบการณ์จากการบริการวิชาการและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียน การสอน และการวิจัย (ระดับ)
นิยาม                    
       5.6.1  มีแผนในการนำความรู้และประสบการณ์จากการบริการวิชาการ/วิชาชีพมาใช้ในการเรียนการสอน และการวิจัย
       5.6.2  มีการนำความรู้และประสบการณ์จากการบริการวิชาการ/วิชาชีพมาใช้ในการเรียนการสอนอย่างน้อย 1 โครงการ
       5.6.3  มีการนำความรู้และประสบการณ์จากการบริการวิชาการ/วิชาชีพมาใช้ในการวิจัยอย่างน้อย   1 โครงการ
       5.6.4  มีการนำความรู้และประสบการณ์จากการบริการวิชาการ/วิชาชีพมาใช้ในการเรียนการสอน  และการวิจัยอย่างน้อย 1 โครงการ
       5.6.5  มีการบูรณาการการจัดการเรียนการสอนกับการวิจัยและการบริการวิชาการ/วิชาชีพอย่างน้อย 1 โครงการ
        ตัวบ่งชี้ที่ 5.11 ระดับความสำเร็จในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพตามพันธกิจของสถาบันรายการประเมินระดับ
นิยาม                    
        5.11.1 มีแผนหรือโครงการในการให้บริการวิชาการอย่างครบถ้วนตามพันธกิจของสถาบัน
        5.11.2 มีการให้บริการวิชาการแก่สังคมตามแผนหรือโครงการในการให้บริการวิชาการอย่างครบถ้วนตามพันธกิจของสถาบัน
        5.11.3  มีการบูรณาการการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมในการให้บริการวิชาการแก่สังคม อย่างน้อย 1 โครงการ
        5.11.4   มีผลงานวิจัย/ผลงานสร้างสรรค์ หรือการพัฒนาองค์ความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคม อย่างน้อย 1 โครงการ
        5.11.5 เกิดเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาและองค์กรในชุมชนในการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน และพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ อย่างน้อย 1 โครงการ
บริการวิชาการ
(ต้องกรอกทุกครั้ง)
  การนำมาใช้ ลักษณะการประยุกต์ การพัฒนาองค์ความรู้/ผลงานวิจัย/ผลงานสร้างสรรค์ หัวข้อที่นับได้ หน่วยงาน
  การวิจัย การเรียนการสอน การทำนุบำรุง การนำไปใช้ การบูรณาการ ฝ่ายฯ ลงข้อมูล
ในโปรแกรม
ภาควิชา
ให้ข้อมูล
/     /   /     5.6.2 / /
/   /     /     5.6.3 / /
/   / และ   /   /     5.6.4 / /
/   / และ  /     /   5.6.5/5.11.3 / /
/   /  หรือ   / หรือ   /   /   5.11.3 / /
/   /  หรือ   / หรือ   /   / / 5.11.4 / /
                     
หมายเหตุ   การนำไปใช้ คือ การนำความรู้และประสบการณ์จากการบริการวิชาการมาใช้ในการเรียนการสอน หรือการวิจัย เช่น เป็นการยกตัวอย่างประกอบการเรียนการสอนเป็นต้น
                   การบูรณาการ คือ การนำองค์ความรู้ที่เกิดจากการบริการวิชาการมาบูรณาการกับการเรียนการสอน การวิจัย เช่นการนำโจทย์ปัญหาจากการบริการวิชาการมาให้ นศ.ทำโครงงานหรือนำมาเป็นโจทย์วิจัยเป็นต้น

 

·    การจัดเก็บข้อมูลตามดัชนีที่ 5.9 และ 5.11

Text Box: ชุดที่ 4

        การกรอกข้อมูล ตัวบ่งชี้ที่ 5.9  จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ (จำนวนศูนย์เครือข่าย) และตัวบ่งชี้ที่ 5.11 ระดับความสำเร็จในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพตามพันธกิจของสถาบัน (ระดับ)

 -         การเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 -         วิธีการป้อนข้อมูล

Text Box: Input

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-         การแสดงผล  ดัชนีที่ 5.9 และดัชนีที่ 5.11

 

 

 

Text Box: Output
Text Box: Output

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

     

      การป้อนข้อมูลในโปรแกรม  KPIs หมวดดัชนีที่  5.9 กับ 5.11      
      ตัวบ่งชี้ที่ 5.9 จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ (จำนวนศูนย์เครือข่าย)
นิยาม              
           จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการและวิชาชีพในตัวบ่งชี้ 5.9 นี้จะนับเฉพาะที่เป็นที่ยอมรับในระดับชาติหรือนานาชาติเท่านั้น  ในส่วนของแหล่งบริการวิชาการ
ในระดับภูมิภาคจะนับในตัวบ่งชี้ที่ 5.11.5    
       ตัวบ่งชี้ที่ 5.11 ระดับความสำเร็จในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพตามพันธกิจของสถาบัน
นิยาม              
        5.11.1 มีแผนหรือโครงการในการให้บริการวิชาการอย่างครบถ้วนตามพันธกิจของสถาบัน
        5.11.2 มีการให้บริการวิชาการแก่สังคมตามแผนหรือโครงการในการให้บริการวิชาการอย่างครบถ้วนตามพันธกิจของสถาบัน
        5.11.3  มีการบูรณาการการเรียนการสอน หรือการวิจัย หรือการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมในการให้บริการวิชาการแก่สังคม อย่างน้อย 1 โครงการ
        5.11.4   มีผลงานวิจัย/ผลงานสร้างสรรค์ หรือการพัฒนาองค์ความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคม อย่างน้อย 1 โครงการ
        5.11.5 เกิดเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาและองค์กรในชุมชนในการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน และพัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้ อย่างน้อย 1 โครงการ
แหล่งข้อมูล/เครือข่าย ระดับการปฏิบัติงาน ตัวอย่าง หัวข้อที่นับได้ หน่วยงาน
ภูมิภาค ชาติ นานาชาติ ภาควิชา/หน่วยงาน ฝ่ายบริการฯ
ศูนย์เครือข่าย /     เครือข่ายพัฒนาชุมชนเมืองคอหงส์ 5.11.5 / /
ศูนย์เครือข่าย   / / iTAP , วสท.ภาคใต้, หน่วยตรวจสอบอาคาร,
องค์กรแม่ข่ายสภาวิศวกร, หน่วยฝึกอบรม สวล.
5.9   /
แหล่งข้อมูลบริการวิชาการ / / / ภาควิชาทั้ง 7ภาควิชา , ฝ่ายบริการวิชาการ,สถานวิจัยฯ,
ศูนย์วิศวกรรมพลังงาน
5.9 / /
               
         หมายเหตุ  จะต้องมีหลักฐานอ้างอิง เช่น ใบรับรอง วุฒิบัตร เพื่อรับรองแหล่งให้บริการวิชาการ แก่สังคมด้วยเช่น หน่วยตรวจสอบอาคาร หน่วยฝึกอบรม สวล. เป็นต้น